MONEY SUMMARY สรุปเรื่องเงิน

MONEY SUMMARY สรุปเรื่องเงิน

Book details

กลยุทธ์ต่าง ๆ ได้กลายมาเป็น “แนวทางการศึกษาที่สามารถนำไปปรับใช้ได้” ของผู้คนในยุคสมัยนี้ คำว่า “กลยุทธ์” ที่ถูกใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงยุคนำสมัยที่สุดอย่างศตวรรษที่ 21 นั้นหมายถึงอะไร? “กฎแห่งความสำเร็จโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง” คงเป็นนิยามที่ง่ายดายที่สุดในการอธิบายภาพรวมของคำว่า “กลยุทธ์ “ “กลยุทธ์คือตัวบ่งชี้ถึงแนวทางที่เราจะไล่ตาม” กลยุทธ์มีหลายประเภทและหนึ่งในนั้นคือกลยุทธ์ที่เรียกว่า “กลยุทธ์การแข่งขัน” ซึ่งประเด็นอยู่ที่คำว่า “แข่งขัน” นี่เอง เพราะหากมีคู่แข่ง คุณจะไม่ได้อะไรเลยถ้าไม่อยู่เหนือกว่าอีกฝ่าย ทำความคุ้นเคยกับ “การคิดเชิงกลยุทธ์” ซึ่งสรุป “ภูมิปัญญา 3,000 ปีของมนุษยชาติ” มาไว้ให้แล้ว เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้ไปเรื่อย ๆ คุณจะเข้าใจว่ากลยุทธ์ต่าง ๆ ได้ถูกยกระดับผ่านช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติและการที่มีกลยุทธ์เหล่านี้ก็เป็นอะไรที่ยอดเยี่ยมมาก เมื่อมีผู้ชนะและผู้แพ้ ไม่ว่าจะตั้งแต่สงครามในสมัยโบราณมาถึงการต่อสู้ทางการเมืองในยุคกลางจนกระทั่งปัจจุบันที่มีการแข่งขันทางธุรกิจ...ย่อมอาศัย “กลยุทธ์” เสมอ ประวัติศาสตร์ของกลยุทธ์ยังเป็นประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติด้วยเช่นกัน หนังสือเล่มนี้เองก็ได้นำเสนอกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงยุคก่อนคริสตกาล คุณอาจจะคิดว่า “การเรียนรู้กลยุทธ์ที่เก่าเสียจนฝุ่นเกาะจะมีความหมายอะไร?” แต่กลยุทธ์แบบเก่าเองก็เป็นตัวบ่งชี้แนวทางที่ยิ่งกว่าพื้นฐาน และก็ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเพราะมีกลยุทธ์แบบเก่าอันแสนพิเศษนี่แหละจึงได้เกิดกลยุทธ์ (ระดับแนวหน้า) อย่างในปัจจุบันหลังจากผ่านการสั่งสมบ่มเพาะมาเสียเนิ่นนาน ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งผู้ชนะเป็นฝ่ายได้ทุกอย่าง คนที่รู้กลยุทธ์ถึงจะร่ำรวยขึ้นได้ เมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยียิ่งพัฒนา ชีวิตของเราก็เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง เป็นยุคสมัยใหม่ที่มีกลยุทธ์ทางธุรกิจซึ่งเปลี่ยนโฉมโลกทั้งใบจากหน้ามือเป็นหลังมือเกิดขึ้นมาเรื่อย ๆ ดังเช่นการปรากฏตัวของกลุ่มบริษัทระดับโลกที่เรียกกันว่า GAFA (Google, Amazon, Facebook, Apple) และคนที่จะกลายเป็นผู้ชนะคือคนที่รู้จักกลยุทธ์เหล่านั้นจนได้พลังอันยิ่งใหญ่มาไว้ในมือกลยุทธ์ต่าง ๆ ได้กลายมาเป็น “แนวทางการศึกษาที่สามารถนำไปปรับใช้ได้” ของผู้คนในยุคสมัยนี้ คำว่า “กลยุทธ์” ที่ถูกใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงยุคนำสมัยที่สุดอย่างศตวรรษที่ 21 นั้นหมายถึงอะไร? “กฎแห่งความสำเร็จโดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง” คงเป็นนิยามที่ง่ายดายที่สุดในการอธิบายภาพรวมของคำว่า “กลยุทธ์ “ “กลยุทธ์คือตัวบ่งชี้ถึงแนวทางที่เราจะไล่ตาม” กลยุทธ์มีหลายประเภทและหนึ่งในนั้นคือกลยุทธ์ที่เรียกว่า “กลยุทธ์การแข่งขัน” ซึ่งประเด็นอยู่ที่คำว่า “แข่งขัน” นี่เอง เพราะหากมีคู่แข่ง คุณจะไม่ได้อะไรเลยถ้าไม่อยู่เหนือกว่าอีกฝ่าย ทำความคุ้นเคยกับ “การคิดเชิงกลยุทธ์” ซึ่งสรุป “ภูมิปัญญา 3,000 ปีของมนุษยชาติ” มาไว้ให้แล้ว เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้ไปเรื่อย ๆ คุณจะเข้าใจว่ากลยุทธ์ต่าง ๆ ได้ถูกยกระดับผ่านช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติและการที่มีกลยุทธ์เหล่านี้ก็เป็นอะไรที่ยอดเยี่ยมมาก เมื่อมีผู้ชนะและผู้แพ้ ไม่ว่าจะตั้งแต่สงครามในสมัยโบราณมาถึงการต่อสู้ทางการเมืองในยุคกลางจนกระทั่งปัจจุบันที่มีการแข่งขันทางธุรกิจ...ย่อมอาศัย “กลยุทธ์” เสมอ ประวัติศาสตร์ของกลยุทธ์ยังเป็นประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติด้วยเช่นกัน หนังสือเล่มนี้เองก็ได้นำเสนอกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงยุคก่อนคริสตกาล คุณอาจจะคิดว่า “การเรียนรู้กลยุทธ์ที่เก่าเสียจนฝุ่นเกาะจะมีความหมายอะไร?” แต่กลยุทธ์แบบเก่าเองก็เป็นตัวบ่งชี้แนวทางที่ยิ่งกว่าพื้นฐาน และก็ไม่ต้องสงสัยเลยว่าเพราะมีกลยุทธ์แบบเก่าอันแสนพิเศษนี่แหละจึงได้เกิดกลยุทธ์ (ระดับแนวหน้า) อย่างในปัจจุบันหลังจากผ่านการสั่งสมบ่มเพาะมาเสียเนิ่นนาน ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งผู้ชนะเป็นฝ่ายได้ทุกอย่าง คนที่รู้กลยุทธ์ถึงจะร่ำรวยขึ้นได้ เมื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยียิ่งพัฒนา ชีวิตของเราก็เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง เป็นยุคสมัยใหม่ที่มีกลยุทธ์ทางธุรกิจซึ่งเปลี่ยนโฉมโลกทั้งใบจากหน้ามือเป็นหลังมือเกิดขึ้นมาเรื่อย ๆ ดังเช่นการปรากฏตัวของกลุ่มบริษัทระดับโลกที่เรียกกันว่า GAFA (Google, Amazon, Facebook, Apple) และคนที่จะกลายเป็นผู้ชนะคือคนที่รู้จักกลยุทธ์เหล่านั้นจนได้พลังอันยิ่งใหญ่มาไว้ในมือ

Author

"จักรพงษ์ เมษพันธุ์,วิฑูรย์ สูงกิจบูลย์ (เซนเซแป๊ะ) "

Translator

-

Publisher

I AM THE BEST

Page

-

Book category

บริหารธุรกิจ

Price

259 baht

ISBN

9786168224182

Review by

ปนัดดา

Review details

ติดตามโค้ชหนุ่มมานานแล้ว เล่มนี้ขอแนะนำสำหรับคนที่กำลังเริ่มต้นศึกษาเรื่องการเงิน แบบสรุปง่ายๆ เพื่อเอาไว้อ่านทบทวนและทำ check list ของตัวเอง ภาษาหรือคำศัพท์ ไม่ยาก อ่านแล่วไม่ต้องไปเสริช google เหมือนบางเล่ม

Review date

22 ม.ค. 64